ลักษณะ[แก้]
มีขนยาว ตัวสีดำหรือดำแกมน้ำตาล เว้นแต่ที่ตรงหน้าผากและครึ่งล่างของขาทั้ง 4 เป็นสีขาวเทา ๆ หรือเหลืองอย่างสีทอง เรีบกว่า "หน้าโพ" ขาทั้ง 4 ข้างตั้งแต่เหนือเข่าลงไปถึงกีบเท้ามีสีขาวเทาหรือเหลืองทอง ทำให้มองดูเหมือนสวมถุงเท้า สีขนของกระทิงบริเวณหน้าผากและถุงเท้าเกิดจากคราบน้ำมันในเหงื่อซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ชนิดนี้ คอสั้น และมีพืม (เหนียงคอ) ห้อยยาวลงมาจากใต้คอ เขามีสีเขียวเข้ม ปลายเขามีสีดบริเวณโคนเขามีรอยย่นซึ่งรอยนี้จะมีมากขึ้นเมื่อสูงวัยขึ้น
กระทิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ลูกที่เกิดขึ้นจะมีสีน้ำตาลแกมแดงเหมือนสีขนของเก้ง มีเส้นสีดำพาดกลางหลัง ลูกกระทิงขนาดเล็กจะยังไม่มีถุงเท้าเหมือนกระทิงตัวโต มีความยาวลำตัวและหัว 250 - 300 เซนติเมตร หาง 70 - 105 เซนติเมตร ความสูงจากพื้นถึงหัวไหล่ 170 - 185 เซนติเมตร น้ำหนัก 650 - 900 กิโลกรัม โดยตัวผู้มีน้ำหนักมากกว่าตัวเมีย มีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของจีน, อินเดีย, ภูฐาน, เนปาล, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย โดยแบ่งออกได้เป็นชนิดย่อย 5 ชนิด
ลักษณะ [แก้]
มีขนยาวตัวสีดำหรือดำแกมน้ำตาล 4 เป็นสีขาวเทา ๆ หรือเหลืองอย่างสีทองเรีบกว่า "หน้าโพ" ขาทั้ง 4 ทำให้มองดูเหมือนสวมถุงเท้า คอสั้นและมีพืม (เหนียงคอ) ห้อยยาวลงมาจากใต้คอเขามีสีเขียวเข้ม มีเส้นสีดำพาดกลางหลัง มีความยาวลำตัวและหัว 250-300 เซนติเมตรหาง 70-105 เซนติเมตรความสูงจากพื้นถึงหัวไหล่ 170-185 เซนติเมตรน้ำหนัก 650-900 กิโลกรัมโดยตัวผู้มีน้ำหนักมากกว่าตัวเมียมีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของจีน, อินเดีย, ภูฐาน , เนปาล, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซียโดยแบ่งออกได้เป็นชนิดย่อย 5 ชนิด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ลักษณะ[แก้]
มีขนยาวตัวสีดำหรือดำแกมน้ำตาลเว้นแต่ที่ตรงหน้าผากและครึ่งล่างของขาทั้ง 4 เป็นสีขาวเทาๆหรือเหลืองอย่างสีทองเรีบกว่า"หน้าโพ"ขาทั้ง 4 ข้างตั้งแต่เหนือเข่าลงไปถึงกีบเท้ามีสีขาวเสีขนของกระทิงบริเวณหน้าผากและถุงเท้าเกิดจาคอสั้นและมีพืม(เหนียงคอ)ห้อยยาวลงมาจากใต้คอเขามีสีเขียวเข้ม
กระทิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียลูกที่เกิดขึ้นจะมีสีน้ำตาลแกมแดงเหมือนสีขนมีเส้นสีดำพาดกลางหลังลูกกระทิงขนาดเล็กจะยังไม่มีถุงเท้าเหมือนกรมีความยาวลำตัวและหัว 250 - 300 เซนติเมตรหาง 70 - 105ความสูงจากพื้นถึงหัวไหล่ 170 - 185 เซนติเมตรน้ำหนัก 650 - 900 กิโลกรัมโดยตัวผู้มีน้ำหนักมากกว่าตัวเมีย มีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของจีน ,อินเดีย, ภูฐาน ,เนปาล,พม่า,:,ลาว,กัมพูชา,เวียดนาม,มาเลเซียโดยแบ่งออกได้เป็นชนิดย่อย 5 ชนิด
การแปล กรุณารอสักครู่..